EN TH
16 สิงหาคม 2542

งบการเงินและงบการเงินรวมไตรมาสที่ 2/2542

-3- 2.7 สิทธิการใช้ทรัพย์สินรอตัดบัญชี สิทธิการใช้ทรัพย์สินรอตัดบัญชี ตัดจ่ายเป็นค่าใช้จ่ายตามอายุสัมปทานที่เหลือ หรือ ตัดจ่ายเป็นค่าใช้จ่ายโดยวิธีเส้นตรงตามอายุการใช้งานในเวลา 5-20 ปี เป็นค่าใช้จ่ายโดยวิธีเส้นตรงตามอายุการใช้งานในเวลา 5-20 ปี 2.8 ค่าเช่าภาพยนตร์ ค่าละครและลิขสิทธิ์รอตัดบัญชี ค่าเช่าภาพยนตร์ ตัดบัญชีเป็นค่าใช้จ่ายโดยวิธีเส้นตรงตามระยะเวลาที่กำหนด ในสัญญาหรือสัดส่วนการออกอากาศของภาพยนตร์ที่กำหนดใน สัญญาหรือตามสิทธิที่ได้รับในการออกอากาศ ค่าผลิตภัณฑ์ภาพยนตร์ ตัดบัญชีเป็นต้นทุนตามอัตราส่วนของรายได้ที่รับ จากประมาณ การรายได้ทั้งหมด ค่าละคร ตัดบัญชีเป็นค่าใช้จ่ายโดยวิธีเส้นตรงในระยะเวลา 5 ปี ค่าลิขสิทธิ์ ตัดบัญชีเป็นค่าใช้จ่ายโดยวิธีเส้นตรงตามระยะเวลาที่กำหนด ในสัญญา 2.9 รายจ่ายรอตัดบัญชี ค่าใช้จ่ายรอตัดบัญชี ตัดบัญชีเป็นค่าใช้จ่ายโดยวิธีเส้นตรงในระยะเวลา 5 ปี 2.10 ค่าความนิยม ค่าความนิยม บริษัทตัดจำหน่ายโดยวิธีเส้นตรงในเวลา 5 ปี 2.11 กำไรต่อหุ้น กำไรต่อหุ้น คำนวณโดยการหารกำไรสุทธิด้วยจำนวนหุ้นที่ออกจำหน่ายและเรียก ชำระแล้ว ณ วันสิ้นงวด 2.12 รายการบัญชีที่เป็นเงินตราต่างประเทศ รายการบัญชีที่เป็นเงินตราต่างประเทศได้บันทึกเป็นเงินบาท โดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นเงินตราต่างประเทศที่มียอดคงเหลือ ณ วันที่ ในงบดุล ได้บันทึกไว้เป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ในงบดุล ผลกำไรหรือ ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนได้บันทึกเป็นรายได้ หรือค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานระหว่าง งวดแล้ว งบการเงินของบริษัทย่อยที่เป็นเงินตราต่างประเทศ แปลงค่าเป็นเงินบาทเพื่อการทำ งบการเงินรวม โดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนดังต่อไปนี้ - สินทรัพย์และหนี้สิน แปลงค่าโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ย ณ วันสิ้นงวด -4- - ส่วนของผู้ถือหุ้นและค่าเสื่อมราคา แปลงค่าโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ เกิด รายการ - รายได้และค่าใช้จ่ายแปลงค่าโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ยสำหรับงวด ส่วนปรับปรุงจากการแปลงค่างบการเงินที่เป็นเงินตราต่างประเทศ แสดงอยู่ในส่วนของผู้ถือหุ้น 3. ข้อมูลเกี่ยวกับคุณภาพของสินทรัพย์ บริษัทมีการลงทุนและทำธุรกรรมกับบริษัทที่ผิดนัดชำระหนี้ ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2542 ดังนี้ 3.1 ลูกหนี้การค้าที่ผิดนัดชำระหนี้แยกตามอายุหนี้ที่ค้างชำระได้ดังนี้ (หน่วย : พัน) อายุลูกหนี้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะของบริษัทฯ 2542 2541 2542 2541 มากกว่า 2 เดือน ถึง 3 เดือน 10,537 4,147 1,998 - มากกว่า 3 เดือน ถึง 6 เดือน 29,556 6,783 623 - มากกว่า 6 เดือน ถึง 12 เดือน 8,020 10,456 - - มากกว่า 12 เดือนขึ้นไป 24,127 15,183 764 834 รวม 72,240 36,569 3,385 834 ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 39,002 36,419 2,543 2,197 3.2 เงินฝากสถาบันการเงินเป็นการเปลี่ยนตั๋วสัญญาใช้เงินของสถาบันการเงิน ซึ่งกระทรวง การคลังได้มีคำสั่งให้ระงับการดำเนินกิจการมาฝากในบริษัท เงินทุนหลักทรัพย์กรุงไทยธนกิจ จำกัด (มหาชน) และนำมาเปลี่ยนเป็นบัตรเงินฝากกับธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) โดยห้ามไถ่ถอนก่อนครบกำหนด 3-5 ปี บริษัทไม่ได้ตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญไว้ เนื่องจาก รัฐบาลได้ค้ำประกันเงินฝากดังกล่าว โดยมีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย : ล้านบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะของบริษัทฯ 2542 2541 2542 2541 ตั๋วสัญญาใช้เงิน 280.09 280.09 94.32 94.32 บัตรเงินฝากธนาคาร 71.05 71.05 - - รวม 351.14 351.14 94.32 94.32 -5- 4. เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (หน่วย : พันบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะ อัตราดอกเบี้ย ของบริษัทฯ ( ร้อยละ ) 2542 2541 2542 2541 2542 2541 บริษัทใหญ่ให้กู้ยืม - บริษัทย่อย 1.บริษัท บางกอกเอ็นเตอร์เทนเม้นต์ จำกัด - - 800,000 800,000 5.75-12.25 10.00-12.25 2.บริษัท ยู แอนด์ ไอ คอร์โปเรชั่น จำกัด - - 206,976 90,144 5.75-15.25 10.00-12.25 3.บริษัท ทรีมีเดีย จำกัด - - 5,000 13,359 6.75-12.25 10.00-12.25 4.บริษัท บีอีซี สตูดิโอ จำกัด - - - 100 - 10.00-11.50 5.บริษัท บีอีซี อินเตอร์เนชั่นแนล ดิสทริบิวชั่น จำกัด - - 1,668 1,398 5.75-12.25 10.00-12.25 6.บริษัท สำนักข่าว บีอีซี จำกัด - - - 100 - 10.00-11.50 7.บริษัท บางกอกเคเบิ้ลเทเลวิชั่น ซีสเท็ม จำกัด - - 86,483 75,666 5.75-12.25 10.00-12.25 8.บริษัท บางกอกแซทเทิลไลท์ แอนด์ เทเลคอมมิวนิเคชั่น จำกัด - - - 500 - 10.00-11.50 9.บริษัท แซทเทิลไลท์ ทีวี บรอดคาสติ้ง จำกัด - - 100 100 5.75-11.50 11.50 10.บริษัท บีอีซี-เทโรเอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จำกัด - - 26,750 4,000 5.75-12.25 12.25 รวมเงินให้กู้ยืมแก่บริษัทย่อย - - 1,126,977 985,367 - บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน 1.บริษัท อินโฟบิซ จำกัด 31,466 27,421 31,466 27,421 8.25-14.75 12.50-14.75 2.บริษัท อินโฟแปซิฟิค คอร์ปอเรชั่น จำกัด 23,012 20,054 23,012 20,054 8.25-14.75 12.50-14.75 รวมเงินให้กู้ยืมแก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน 54,478 47,475 54,478 47,475 รวม 54,478 47,475 1,181,455 1,032,842 บริษัทย่อยให้กู้ยืมบริษัทที่เกี่ยวข้อง 1.บริษัท อินโฟแปซิฟิค คอร์ปอเรชั่น จำกัด - 2,000 - - - 16.25 รวมทั้งสิ้น 54,478 49,475 1,181,455 1,032,842 -6- 5. เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมและผลขาดทุนเกินกว่าเงินลงทุน (หน่วย : พันบาท) สัดส่วนการถือหุ้น % ตามวิธีราคาทุน ตามวิธีส่วนได้เสีย 2542 2541 2542 2541 2542 2541 บริษัทย่อย 1.บริษัท บางกอกเอ็นเตอร์เทนเม้นต์ จำกัด 99.99 99.99 299,999 299,999 1,086,847 1,153,261 2.บริษัท รังสิโรตม์วนิช จำกัด 99.99 99.99 35,000 35,000 1,220,664 848,257 3.บริษัท นิวเวิลด์ โปรดั๊กชั่น จำกัด 99.99 99.99 59,999 59,999 992,147 720,361 4.บริษัท อริยะวัฒน์ จำกัด 99.99 99.99 42,997 42,997 637,459 592,373 5.บริษัท ยู แอนด์ ไอ คอร์โปเรชั่น จำกัด 99.99 99.99 34,999 34,999 (117,266) (31,453) 6.บริษัท ทรีมีเดีย จำกัด 99.99 99.99 30,000 30,000 6,853 19,798 7.บริษัท บีอีซี สตูดิโอ จำกัด 99.99 99.99 5,000 5,000 6,406 6,044 8.บริษัท บีอีซี อินเตอร์เนชั่นแนล ดิสทริบิวชั่น จำกัด 99.99 99.99 5,000 5,000 (1,688) 6,004 9.บริษัท สำนักข่าว บีอีซี จำกัด 99.99 99.99 5,000 5,000 6,404 6,042 10.บริษัท บางกอกเคเบิ้ลเทเลวิชั่น ซีสเท็ม จำกัด 99.99 99.99 5,000 5,000 (81,989) (63,216) 11.บริษัท บางกอกแซทเทิลไลท์ แอนด์ เทเลคอมมิวนิเคชั่น จำกัด 99.99 99.99 25,000 25,000 33,037 31,014 12.บริษัท แซทเทิลไลท์ บรอดคาสติ้ง ซีสเท็ม จำกัด 99.99 99.99 1,000 1,000 1,152 1,107 13.บริษัท แซทเทิลไลท์ ทีวี บรอดคาสติ้ง จำกัด 99.99 99.99 1,000 1,000 720 732 14.บริษัท บีอีซี-เทโรเอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จำกัด 59.99 59.99 8,116 8,116 (10,098) 6,260 รวมเงินลงทุนในบริษัทย่อย 558,110 558,110 3,991,689 3,391,253 บริษัทร่วม 1.บริษัท ซีวีดี เอ็นเตอร์เทนเมนท์ จำกัด 20.00 - 328,847 328,847 255,079 304,055 (มหาชน) รวมเงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม 886,957 886,957 4,246,768 3,695,308 รวมผลขาดทุนเกินกว่าเงินลงทุน - - (211,041) (94,669) เนื่องจากบริษัทย่อยบางบริษัทมีผลขาดทุนเกินทุน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2542 และ 2541 เงินลงทุนในบริษัทย่อย ตามวิธีส่วนได้เสียจึงแสดงไว้ในหมวดหนี้สินภายใต้หัวข้อ "ผลขาด ทุนเกินกว่าเงินลงทุน"" งบการเงินของบริษัท ซีวีดี เอ็นเตอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) ถือตามข้อมูลทางการเงิน ที่จัดทำโดยผู้บริหารของ บริษัทดังกล่าว โดยไม่ได้ผ่านการสอบทานของผู้สอบบัญชีส่วนได้เสียที่บันทึก ในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะของบริษัทฯ มีจำนวนเงินไม่เป็นสาระสำคัญ -7- บริษัทถือหุ้นในบริษัท ซีวีดี เอ็นเตอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็นบริษัทจดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เป็นจำนวน 7.20 ล้านหุ้น มีราคาตลาด ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2542 และ 2541 เท่ากับ 104.40 ล้านบาท และ 50.40 ล้านบาท ตามลำดับ บริษัทลงทุนในบริษัท บีอีซี-เทโรเอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จำกัด เป็นหุ้นสามัญจำนวน 599,995 หุ้น ในราคาหุ้นละ 10 บาท และมีค่าใช้จ่ายในการซื้อหุ้นจำนวน 2.12 ล้านบาท รวมเป็นเงินลงทุน ทั้งหมด 8.12 ล้านบาท งบการเงินของ B E C - TERO (YANGON) COMPANY LIMITED ซึ่งเป็นบริษัทใน ประเทศพม่าถือหุ้นโดยบริษัทย่อย และนำมาประกอบเป็นส่วนหนึ่งในงบการเงินรวมสำหรับงวด สามเดือน และหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2542 ถือตามข้อมูลของฝ่ายบริหารโดยยังไม่ได้ ผ่านการสอบทานจากผู้สอบบัญชี สินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนได้เสีย มีจำนวนเงินไม่เป็นสาระสำคัญ ต่องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะของบริษัทฯ (หน่วย : พันบาท) ประเภทกิจการ ลักษณะความ ทุนชำระแล้ว เงินปันผล สัมพันธ์ 2542 2541 2542 2541 บริษัทย่อย 1.บริษัท บางกอกเอ็นเตอร์- ดำเนินธุรกิจสถานีโทรทัศน์และ ผู้ถือหุ้น/กรรมการ 300,000 300,000 199,999 399,999 เทนเม้นต์ จำกัด วิทยุ ร่วมกัน 2.บริษัท รังสิโรตม์วนิช จำกัด จัดหา ผลิตรายการและขายเวลา ผู้ถือหุ้น/กรรมการ 5,000 5,000 - - โฆษณาทางโทรทัศน์ ร่วมกัน 3.บริษัท นิวเวิลด์ โปรดั๊กชั่น จำกัด จัดหา ผลิตรายการและขายเวลา ผู้ถือหุ้น/กรรมการ 5,000 5,000 - - โฆษณาทางโทรทัศน์ ร่วมกัน 4.บริษัท อริยะวัฒน์ จำกัด จัดหา ผลิตรายการและขายเวลา ผู้ถือหุ้น/กรรมการ 1,000 1,000 - - โฆษณาทางโทรทัศน์ ร่วมกัน 5.บริษัท ยู แอนด์ ไอ คอร์โปเรชั่น ผลิตรายการและดำเนินการสถานี ผู้ถือหุ้น/กรรมการ 35,000 35,000 - - จำกัด วิทยุ ผลิตภาพยนตร์ ร่วมกัน 6.บริษัท ทรีมีเดีย จำกัด จัดหารายการ ขายเวลาโฆษณา ผู้ถือหุ้น/กรรมการ 30,000 30,000 - - ขายอุปกรณ์และให้บริการสื่อ ร่วมกัน โฆษณาอิเล็กทรอนิกส์ 7.บริษัท บีอีซี สตูดิโอ จำกัด ( * ) ผลิตรายการและให้บริการอุปกรณ์ ผู้ถือหุ้น/กรรมการ 5,000 5,000 - - ห้องสตูดิโอ ร่วมกัน 8.บริษัท บีอีซี อินเตอร์เนชั่นแนล จัดหาและผลิตรายการโทรทัศน์ ผู้ถือหุ้น/กรรมการ 5,000 5,000 - - ดิสทริบิวชั่น จำกัด ร่วมกัน 9.บริษัท สำนักข่าว บีอีซี จำกัด ( * )ผลิตรายการข่าว ผู้ถือหุ้น/กรรมการ 5,000 5,000 - - ร่วมกัน 10.บริษัท บางกอกเคเบิ้ลเทเลวิชั่น ออกอากาศโทรทัศน์ประเภท ผู้ถือหุ้น/กรรมการ 5,000 5,000 - - ซีสเท็มส์ จำกัด ( * ) บอกรับเป็นสมาชิก ร่วมกัน 11.บริษัท บางกอกแซทเทิลไลท์ ให้บริการรับ-ส่งสัญญาณผ่าน- ผู้ถือหุ้น/กรรมการ 25,000 25,000 - - แอนด์ เทเลคอมมิวนิเคชั่น ดาวเทียม ร่วมกัน จำกัด ( * ) -8- (หน่วย : พันบาท) ประเภทกิจการ ลักษณะความ ทุนชำระแล้ว เงินปันผล สัมพันธ์ 2542 2541 2542 2541 12.บริษัท แซทเทิลไลท์ บรอดคาสติ้ง ให้บริการโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม ผู้ถือหุ้น/กรรมการ 1,000 1,000 - - ซีสเท็ม จำกัด ( * ) ร่วมกัน 13.บริษัท แซทเทิลไลท์ ทีวี ให้บริการโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม ผู้ถือหุ้น/กรรมการ 1,000 1,000 - - บรอดคาสติ้ง จำกัด ( * ) ร่วมกัน 14.บริษัท บีอีซี-เทโรเอ็นเตอร์เทน- จัดหา ผลิตรายการและขายเวลา ผู้ถือหุ้น/กรรมการ 10,000 10,000 - - เม้นท์ จำกัด โฆษณาทางโทรทัศน์ ร่วมกัน ผลิตและส่งเสริมการจำหน่าย เพลง จัดแสดงคอนเสิร์ต บริษัทร่วม 1.บริษัท ซีวีดี เอ็นเตอร์เทนเมนท์ ผลิตตลับ วีดีโอเทป เลเซอร์ดิสก์ ผู้ถือหุ้น/กรรมการ 360,000 360,000 - - จำกัด (มหาชน) จำหน่ายและให้เช่าวีดีโอเทป ร่วมกัน * ยังไม่เริ่มดำเนินการ 6. เงินปันผลจ่ายและค่าตอบแทนกรรมการ เมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2542 ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัทได้มีมติอนุมัติการจ่ายเงินปันผล แก่ผู้ถือหุ้นจำนวน 200 ล้านหุ้น ในอัตราหุ้นละ 6.50 บาท เป็นเงิน 1,300 ล้านบาทและที่ประชุม สามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2542 เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2542 ได้มีมติอนุมัติการจ่ายเงินปันผลดังกล่าว รวมทั้งการจ่ายบำเหน็จกรรมการเป็นเงินจำนวน 12 ล้านบาท โดยมีกำหนดจ่ายเงินปันผลวันที่ 11 พฤษภาคม 2542 เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2541 ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัทได้มีมติอนุมัติการจ่าย เงินปันผลแก่ผู้ถือหุ้นจำนวน 200 ล้านหุ้น ในอัตราหุ้นละ 6 บาท เป็นเงิน 1,200 ล้านบาท และที่ ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2541 เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2541 ได้มีมติอนุมัติการจ่ายเงินปันผล ดังกล่าว รวมทั้งการจ่ายบำเหน็จกรรมการเป็นเงินจำนวน 12 ล้านบาท โดยมีกำหนดจ่ายเงิน ปันผลวันที่ 20 พฤษภาคม 2541 7. รายการระหว่างกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทและบริษัทย่อยมีรายการสินทรัพย์ หนี้สิน รายได้ และค่าใช้จ่าย บางส่วนกับบริษัทที่ เกี่ยวข้องกันซึ่งเกี่ยวข้องกันโดยมีผู้ถือหุ้นและ/หรือกรรมการร่วมกัน รายการดังกล่าวเป็นไปตาม ปกติธุรกิจตามราคาตลาด ซึ่งสามารถเปรียบเทียบได้กับรายการค้าที่เกิดกับบุคคลภายนอก ผล ของรายการดังกล่าวได้แสดงไว้ในงบการเงินนี้ ตามมูลฐานที่ตกลงร่วมกันโดยบริษัทและบริษัทย่อย กับบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน -9- รายการที่เกี่ยวข้องกันที่สำคัญสำหรับงวดหกเดือนมีดังนี้ (หน่วย : พันบาท) 2542 2541 ลูกหนี้การค้า 5,454 - เงินให้กู้ยืม 54,478 49,475 ดอกเบี้ยค้างรับ 271 446 เงินทดรองจ่าย 463 - ซื้ออุปกรณ์สำนักงาน 3,145 4,858 เจ้าหนี้การค้า 122 1,614 เจ้าหนี้ทรัพย์สิน - 2,037 รายได้ 4,015 - ดอกเบี้ยรับ 3,321 2,774 ต้นทุนขาย 262 1,468 ค่าใช้จ่าย 7,490 9,353 8. การเสนอข้อมูลทางการเงินจำแนกตามส่วนงาน บริษัทและบริษัทย่อยประกอบธุรกิจจัดหาภาพยนตร์ ละคร ผลิตรายการและขายเวลาโฆษณา ทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 นอกจากนี้บริษัทย่อยบางบริษัทยังได้รับสิทธิในการดำเนินการออก อากาศทางสถานีโทรทัศน์และสถานีวิทยุ และมีรายได้จากการขายโฆษณาและบริการ การขาย อุปกรณ์วีดีโอวอลล์ ผลิตภาพยนตร์ ตามที่กล่าวไว้ในวรรคก่อน บริษัทและบริษัทย่อยดำเนินกิจการในส่วนงานทางธุรกิจเดียวคือ ธุรกิจด้านบันเทิงและสันทนาการ และดำเนินธุรกิจในส่วนงานทางภูมิศาสตร์เดียวคือในประเทศไทย ดังนั้นรายได้ กำไร และสินทรัพย์ทั้งหมดที่แสดงในงบการเงิน จึงเกี่ยวข้องกับส่วนงานทางธุรกิจ ตามที่กล่าวไว้ -10- 9. ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นภายหน้า ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2542 และ 2541 บริษัทและบริษัทย่อยมีภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจ เกิดขึ้นภายหน้า ดังนี้ (หน่วย : ล้านบาท) รายการ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะของบริษัทฯ 2542 2541 2542 2541 หนังสือค้ำประกันของธนาคารพาณิชย์ 23.34 22.10 - - หนี้สินที่อาจเกิดขึ้นจากการเปิดเลตเตอร์ออฟเครดิต 26.16 - - - ภาระค่าลิขสิทธิ์ภาพยนตร์ตามสัญญาซื้อล่วงหน้า -ส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี 126.33 - 97.64 - -ส่วนที่ถึงกำหนดชำระเกินกว่าหนึ่งปี 27.07 - 2.65 - 10. ข้อมูลทั่วไป 10.1 บริษัทย่อยได้ทำสัญญาร่วมดำเนินกิจการส่งโทรทัศน์สี กับองค์การสื่อสารมวลชนแห่ง ประเทศไทยตามสัญญาลงวันที่ 28 เมษายน 2521 แก้ไขเพิ่มเติมครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 13 กันยายน 2525 ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2530 และครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2532 โดย ได้รับสิทธิร่วมดำเนินการออกอากาศสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 จนถึงวันที่ 25 มีนาคม 2563 โดยทรัพย์สินที่บริษัทย่อยได้กระทำขึ้นหรือได้จัดหามาไว้สำหรับใช้ในการดำเนินการตามสัญญานี้ ให้ ตกเป็นทรัพย์สินขององค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย นับแต่วันที่ได้กระทำหรือได้จัดหา โดย บริษัทย่อยมีสิทธิในการใช้ทรัพย์สินดังกล่าวได้ ภายใต้สัญญาดังกล่าวข้างต้น บริษัทย่อยจะต้องจ่ายผลประโยชน์ตอบแทนรายปีแก่องค์การ สื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย ตามที่ระบุไว้ในสัญญา 10.2 บริษัทย่อยได้ทำสัญญาเช่าเวลาจัดรายการและโฆษณา กับองค์การสื่อสารมวลชนแห่ง ประเทศไทยตามสัญญาลงวันที่ 25 มกราคม 2533 และแก้ไขใหม่ ลงวันที่ 22 กันยายน 2537 โดยได้รับสิทธิในการจัดรายการและโฆษณาสถานีวิทยุ อ.ส.ม.ท.เอฟ.เอ็ม. ความถี่ 105.5 เมกกะเฮิร์ตซ กรุงเทพมหานคร จนถึงวันที่ 31 มกราคม 2563 เพื่อให้สอดคล้องกับอายุสัญญา ร่วมดำเนินกิจการส่งโทรทัศน์สี แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 3 โดยมีข้อตกลงว่าหากสัญญาร่วมดำเนิน กิจการส่งโทรทัศน์สีสิ้นสุดลงไม่ว่าด้วยเหตุใดก่อนครบกำหนดอายุสัญญา ให้ถือว่าสัญญานี้เป็นอัน สิ้นสุดด้วย ภายใต้สัญญาดังกล่าวข้างต้น บริษัทย่อยจะต้องจ่ายค่าเช่าเวลาและค่าใช้จ่ายต่าง ๆ รายเดือนแก่องค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย ตามที่ระบุไว้ในสัญญา -11- 11. การจัดประเภทบัญชีใหม่ บัญชีบางหมวดในปี 2541 ได้มีการจัดประเภทบัญชีใหม่ เพื่อให้สอดคล้องกับการแสดง รายงานงบการเงินในปี 2542 12. การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับปัญหาปี ค.ศ.2000 (ไม่ได้สอบทาน-ไม่ได้รวมในรายงานของ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต) บริษัทและบริษัทย่อยได้ทำการวิเคราะห์และประเมินผลกระทบของปัญหาปีค.ศ.2000 ที่อาจ เกิดขึ้นต่อการดำเนินธุรกิจของบริษัทและบริษัทย่อยทั้งในส่วนของระบบออกอากาศ ระบบการ ดำเนินงานและระบบข้อมูลเพื่อการบริหาร โดยการว่าจ้างผู้ชำนาญภายนอกสำรวจระบบและจัดทำ รายการคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ต่อพ่วงและระบบเครือข่ายทั้งหมดที่มีใช้ในองค์กร จากนั้นจึงได้ให้ ผู้ชำนาญการดังกล่าว ร่วมกันกับบริษัทผู้ขายอุปกรณ์หลัก ทำการตรวจสอบวิเคราะห์ประเมินผล กระทบของปัญหาปี ค.ศ.2000 ในระบบดังกล่าวทั้งหมดทั้งในส่วน HARDWARE และ SOFTWARE โดยมีกรรมการบริหารของบริษัทท่านหนึ่งเป็นผู้ดูแล ทั้งนี้การสำรวจและประเมินผลดังกล่าว ข้างต้นนั้นได้ดำเนินการเสร็จเรียบร้อยแล้ว จากการสำรวจและประเมินผลข้างต้น บริษัทพบว่าปัญหาในเรื่องดังกล่าวนี้ อยู่ที่ระบบปฎิบัติ การ(OPERATING SYSTEM) ของเครื่องประมวลผลหลักของบริษัท(เครื่องมินิคอมพิวเตอร์ IBM AS/400)ซึ่งไม่สามารถรองรับปีค.ศ. 2000 ได้ อีกทั้งระบบงานที่ใช้อยู่กำหนดลักษณะข้อมูลวันที่ เป็นหก(6) หลักในรูป YYMMDD ซึ่งจำเป็นต้องได้รับการแก้ไข นอกนั้นก็เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคล(PC)บางส่วนที่ซื้อมาก่อน ค.ศ. 1996 นั้นจำเป็นต้องถูกทดแทน บริษัทและบริษัทย่อยได้เริ่มดำเนินการแก้ไขปรับปรุงระบบ หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อ แก้ไขปัญหาปี ค.ศ. 2000 โดยได้มีการวางแผนจัดซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์หลักและระบบปฏิบัติการ (OperatingSystem) Version ใหม่ ซึ่งสามารถรองรับปี ค.ศ.2000 ได้ และมีการว่า จ้างผู้เชี่ยวชาญภายนอกแก้ไขระบบปฏิบัติงาน BACK OFFICE ทั้งหมด รวมทั้งเปลี่ยนเครื่อง PC ที่ล้าสมัย โดยคาดว่าจะมีค่าใช้จ่ายรวมทั้งสิ้นประมาณ 10 ล้านบาท บริษัทคาดว่าจะไม่ได้รับผล กระทบอย่างมีสาระสำคัญเกี่ยวกับการดำเนินงาน หรือฐานะการเงินแต่อย่างใด แม้ว่าบริษัทและบริษัทย่อยคาดว่าจะสามารถทำการแก้ไขปรับปรุงระบบ หรือโปรแกรมคอม พิวเตอร์ได้ทันเมื่อถึงปี ค.ศ. 2000 บริษัทและบริษัทย่อยยังคงมีความเสี่ยงต่อการที่กิจการอื่นที่ ดำเนินธุรกิจด้วยจะไม่สามารถปรับปรุงระบบได้ทันกาล อย่างไรก็ดีบริษัทคาดว่าผลกระทบดังกล่าว จะไม่มีนัยสำคัญต่อผลการดำเนินงานของบริษัทและบริษัทย่อย *** OPT 1.50